ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันภาคการเกษตร สินค้าข้าวแบบพึ่งพาตนเองฯ (ข้าว)
1. การวิจัยและพัฒนา (R&D)
-
- จำนวนรายงานผลการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิต ( พันธุ์ข้าว ดิน น้ำ ปุ๋ย) ที่นำมาใช้ทั้งในภาครัฐและเอกชน
- จำนวนรายงานผลการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวตามฤดูกาลที่นำมาใช้ทั้งในภาครัฐและเอกชน
- จำนวนรายงานผลการศึกษาเพื่อลดผลกระทบจากศัตรูพืช และโรคพืช ที่นำมาใช้ทั้งในภาครัฐและเอกชน
- จำนวนผลผลิตข้าวที่ผลิตได้ในจังหวัด
- *ปริมาณความต้องการข้าวของผู้ประกอบการค้าข้าวในจังหวัด
- *ปริมาณความต้องการข้าวพื้นเมืองของตลาด
2. ปัจจัยพื้นฐานและการพัฒนาเกษตรกร
-
- *จำนวนเนื้อที่เพาะปลูกข้าวในเขตชลประทานที่ไม่มีระบบจัดการน้ำ
- จำนวนเนื้อที่เพาะปลูกข้าวในเขตชลประทานที่มีระบบจัดการน้ำ
- จำนวนเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนอกเขตชลประทาน
- ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่จังหวัด
- จำนวนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว
- จำนวนเนื้อที่เพาะปลูกข้าว
- จำนวนเนื้อที่เก็บเกี่ยวข้าว
- จำนวนผู้ให้เช่าพื้นที่ทำนา
- จำนวนพื้นที่นาให้เช่า
- รายชื่อสายพันธุ์ข้าวที่ใช้เพาะปลูกในจังหวัด
- จำนวนพันธุ์ข้าว จำแนกตามลักษณะประจำพันธุ์ของข้าวที่ใช้ปลูกในจังหวัด
- จำนวนแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวในจังหวัด
- จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดี
- จำนวนพื้นที่ชลประทาน
- จำนวนพื้นที่แหล่งน้ำสาธารณะ
- พื้นที่ปลูกข้าวที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
- จำนวนเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
- พื้นที่ปลูกข้าวที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง
- จำนวนเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง
- จำนวนครั้งการปลูกข้าวนาปรัง
- ข้อมูลชุดดินในแต่ละพื้นที่ (รหัสชุดดิน)
- ค่าวิเคราะห์ดินในแต่ละพื้นที่ (ค่า PH)
- จำนวนศูนย์ข้าวชุมชน
- จำนวนหมอดินอาสา
- จำนวนปราชญ์ชาวบ้าน
- จำนวนสหกรณ์การเกษตรที่จดทะเบียน
- จำนวนกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
- จำนวนชาวนาที่เป็นสมาชิกสหกรณ์
- ร้อยละของชาวนาที่เข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบ
- มูลค่าสินเชื่อของชาวนา
- จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการบัตรเครดิตเกษตรกร
- จำนวนเกษตรกรที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรการปลูกข้าวตามระบบมาตรฐาน GAP
- จำนวนศูนย์การเรียนรู้ในจังหวัด
- จำนวนศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
- จำนวนพันธุ์ข้าว จำแนกตามลักษณะประจำพันธุ์ของข้าวที่ใช้ปลูกในจังหวัด
- *จำนวนความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าว
- *จำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผลิตได้เองในจังหวัด
- *จำนวนแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวในจังหวัด
- *จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีในแต่ละปี
- จำนวนเกษตรกรและพื้นที่ปลูกข้าวที่ผ่านการรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยของสินค้า
3. การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน
-
- *จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP
- พื้นที่ปลูกข้าวที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP
- *จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวที่ใช้ปุ๋ยเคมีและสารกำจัดศัตรูพืช
- จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และการกำจัดศัตรูพืชโดยที่ไม่ต้องใช้สารเคมี
- *จำนวนเกษตรกรที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์
- *จำนวนเกษตรกรที่ใช้สารกำจัดศัตรูพืชที่ไม่ใช่สารเคมี
- *จำนวนพื้นที่ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์
- ปริมาณผลผลิตข้าวทั่วไปเฉลี่ยต่อไร่ของจังหวัด
- *ปริมาณผลผลิตข้าวที่ได้มาตรฐาน GAP เฉลี่ยต่อไร่ของจังหวัด
- ราคารับซื้อข้าวเปลือกทั่วไปของจังหวัดในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- *ราคารับซื้อข้าวเปลือกที่ได้มาตรฐาน GAP ของจังหวัดในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา
- ต้นทุนเฉลี่ยต่อการผลิตข้าวเปลือก 1 ไร่
- *จำนวนผลผลิตข้าวปลอดภัยเฉลี่ยต่อไร่
- *จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวปลอดภัย
- *จำนวนเกษตรกรผู้ผลิตข้าวปลอดภัย
- *ปริมาณเมล็ดพันธุ์ข้าวปลอดภัยที่ผลิตได้ในจังหวัด
- *ความต้องการเมล็ดพันธุ์ทั้งหมด
- *จำนวนเกษตรกรที่ต้องการใช้ปุ๋ยอินทรีย์
- *ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่ต้องการทั้งหมด
- *ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้ในจังหวัด
- จำนวนเกษตรกรที่ผ่านการรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยของสินค้า
- พื้นที่ปลูกข้าวที่ผ่านการรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยของสินค้า
- *จำนวนผู้ประกอบการผลิตข้าวปลอดภัยมีระบบตรวจสอบย้อนกลับ
4. การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม
-
- จำนวนโรงสีข้าวจำแนกตามจำนวนคนทำงาน
- จำนวนโรงสีข้าวจำแนกตามกำลังเครื่องจักร
- จำนวนโรงสีข้าวจำแนกตามทุนจดทะเบียน
- จำนวนโรงสีที่ได้รับรองระบบ GMP/Primary GMP
- *จำนวนโรงสีที่ได้รับมาตรฐานการผลิตข้าวปลอดภัย
- *กำลังการผลิตโรงสีที่ได้รับมาตรฐานการผลิตข้าวปลอดภัย
- จำนวนโรงสีชุมชนทั้งจังหวัด
- *จำนวนโรงสีชุมชน จำแนกตามขนาดการผลิต
- จำนวนของโรงสีชุมชน/ศูนย์ข้าวชุมชนที่เข้าถึงแหล่งเงินทุน
- จำนวนเงินกู้ของโรงสีชุมชน/ศูนย์ข้าวชุมชน
- *จำนวนโรงสีชุมชน/ศูนย์ข้าวชุมชนที่ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินกู้
- จำนวนโครงการ/กิจกรรม เพื่อส่งเสริม Branding และมาตรฐานสินค้าข้าว
- *จำนวน Brand ที่ได้รับตราจังหวัด
- *จำนวนเกษตรกรที่มีการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัยให้เกิดประโยชน์
- *รายได้จากการจัดการวัตถุดิบเหลือใช้จากการปลูกข้าวปลอดภัย
- จำนวนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP/วิสาหกิจชุมชน จากข้าวของจังหวัด
- มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP/วิสาหกิจชุมชน จากข้าวของจังหวัด
5. การขนส่งและจัดการบริหารสินค้า
6. การพัฒนาระบบการตลาด
-
- *จำนวนชาวนาที่ได้รับการอบรมความรู้เรื่องตลาดล่วงหน้า
- *จำนวนศูนย์เรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีตลาดซื้อขายล่วงหน้า
- *ปริมาณของผลผลิตข้าวปลอดภัยที่ขายได้
- *ของปริมาณข้าวปลอดภัยที่ขายได้ต่อผลผลิตข้าวปลอดภัยทั้งหมด
- จำนวนช่องทางการจำหน่ายข้าวปลอดภัยของจังหวัด
หมายเหตุ : * หมายถึง ไม่ได้รับรายงาน